เทคโนโลยีสำหรับผู้สูงอายุ
นวัตกรรมจากวงการแพทย์ : กระดูกเทียม

มาถึงวันนี้สักที สำหรับการพิมพ์สามมิติ (3D Printing) ที่ถูกนำมาใช้ในวงการแพทย์ ซึ่งสามารถสร้างคุณประโยชน์
ได้อย่างมหาศาล สำหรับเมืองไทยอาจจะดูเป็นเรื่องที่แปลกใหม่ แต่นี่นับเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการรักษาผู้ป่วย
ได้อย่างมหาศาล สำหรับเมืองไทยอาจจะดูเป็นเรื่องที่แปลกใหม่ แต่นี่นับเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการรักษาผู้ป่วย
++++++++++++++++++

*********************
สุภาพบุรุษท่านนี้คือ รศ.นพ.ม.ล. ชาครีย์ กิติยากร หัวหน้าศูนย์พัฒนา นวัตกรรมทางการแพทย์ (Mind Center)
แห่งโรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ซึ่งได้มีความคิดริเริ่ม ที่จะนำเครื่อง 3D Printing มาทดลองปรับใช้ในการรักษาผู้ป่วย
เพื่อที่จะได้พัฒนาให้เหมาะสมกับคนไทย ด้วยความที่อยากเห็นคนไทยทุกคนได้เข้าถึงเทคโนโลยีทางการแพทย์
แห่งโรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ซึ่งได้มีความคิดริเริ่ม ที่จะนำเครื่อง 3D Printing มาทดลองปรับใช้ในการรักษาผู้ป่วย
เพื่อที่จะได้พัฒนาให้เหมาะสมกับคนไทย ด้วยความที่อยากเห็นคนไทยทุกคนได้เข้าถึงเทคโนโลยีทางการแพทย์
*********************

*********************
โครงการดี ๆ นี้เกิดขึ้นได้เพราะความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน อาทิเช่น คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
และ คณะเเพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งได้นำปัญหาของคนไข้ที่เกิดขึ้นจริง มาวาง
แผนการรักษาด้วยความเชี่ยวชาญของเเต่ละฝ่าย โดยอาศัยเทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาผู้ป่วย
และ คณะเเพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งได้นำปัญหาของคนไข้ที่เกิดขึ้นจริง มาวาง
แผนการรักษาด้วยความเชี่ยวชาญของเเต่ละฝ่าย โดยอาศัยเทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาผู้ป่วย
*********************

*********************
และเมื่อได้มีการนำองค์ความรู้มาผนวกกับนวัตกรรม การช่วยเหลือทางการเเพทย์ก็จะสามารถต่อยอดได้อีกหลาก
หลายวิธี เพิ่มความสะดวก ลดระยะเวลาในการรักษา และแน่นอน มันยังสามารถลดต้นทุนในเรื่องค่าใช้จ่ายได้ด้วย
หลายวิธี เพิ่มความสะดวก ลดระยะเวลาในการรักษา และแน่นอน มันยังสามารถลดต้นทุนในเรื่องค่าใช้จ่ายได้ด้วย
*********************


*********************
สำหรับเคสที่จะต้องผ่าตัดกระดูกซึ่งมีความซับซ้อน เพราะกระดูกของคนแต่ละคนมีความสั้นยาว หรือความโค้งงอ
ไม่เหมือนกันเลย ผิดไปเพียงองศาเดียวอาจจะใช้ไม่ได้เลย เพราะอาจจะไปโดนเส้นประสาท แต่เมื่อมีเจ้าเครื่องนี้
หมอสามารถพิมพ์ออกมาดูก่อนได้เลย ว่าอยู่ตำเเหน่งไหน? ศัลยแพทย์จะตัดกระดูกยังไง? แล้วตัดกี่องศาถึงจะดี?
ไม่เหมือนกันเลย ผิดไปเพียงองศาเดียวอาจจะใช้ไม่ได้เลย เพราะอาจจะไปโดนเส้นประสาท แต่เมื่อมีเจ้าเครื่องนี้
หมอสามารถพิมพ์ออกมาดูก่อนได้เลย ว่าอยู่ตำเเหน่งไหน? ศัลยแพทย์จะตัดกระดูกยังไง? แล้วตัดกี่องศาถึงจะดี?
*********************

*********************
ที่ผ่านมาได้มี การผลิตกระดูก เพื่อนำไปใช้กับคนไข้ที่กระดูกหัก สำหรับกระดูกบางชิ้นส่วนก็สามารถพิมพ์รูปแบบ
กระดูกให้เข้ากับร่างกายคน ๆ นั้นได้ หมอก็เลยพิมพ์แผ่นกระโหลกออกมาชิ้นหนึ่ง ซึ่งก็เอามาแปะได้พอดีเป๊ะเลย
ซึ่งอันที่จริง หากยังไม่มีเจ้าเครื่องมือนี้ มันแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย เพราะมันจะมีขนาดเฉพาะของมันอยู่หนึ่งเดียว
กระดูกให้เข้ากับร่างกายคน ๆ นั้นได้ หมอก็เลยพิมพ์แผ่นกระโหลกออกมาชิ้นหนึ่ง ซึ่งก็เอามาแปะได้พอดีเป๊ะเลย
ซึ่งอันที่จริง หากยังไม่มีเจ้าเครื่องมือนี้ มันแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย เพราะมันจะมีขนาดเฉพาะของมันอยู่หนึ่งเดียว
*********************


*********************
ข้อดีคือสามารถผลิตได้ในราคาไม่แพง ในสมัยก่อน ๆ การรักษาทางการแพทย์ จะต้องจ้างช่างเทคนิคพิเศษ ผลิต
อุปกรณ์เพียงแค่หนึ่งชิ้นด้วยราคาที่สูงมาก ๆ ซึ่งถือเป็นอีกสาเหตุใหญ่ ๆ ที่มีเพียงคนไข้ไม่กี่คนที่เข้าถึงการรักษา
อุปกรณ์เพียงแค่หนึ่งชิ้นด้วยราคาที่สูงมาก ๆ ซึ่งถือเป็นอีกสาเหตุใหญ่ ๆ ที่มีเพียงคนไข้ไม่กี่คนที่เข้าถึงการรักษา
*********************

*********************
all credits .by. https://urbancreature.co/3d-printing-medical/
*********************
